ถ้าถามว่าต้นไม้อะไรที่น่ารักที่สุด หนึ่งในนั้นต้องมีชื่อของ HOYA ด้วยแน่ๆ HOYA มีใบเป็นรูปหัวใจ มีชื่อไทยเก๋ๆ ว่า “หัวใจทศกัณฑ์” เป็นต้นไม้แห้งความรัก ที่เป็นเหมือนสื่อกลางแสดงความรัก ความห่วงใยให้กับคนที่เรามีความรู้สึกดีๆ ด้วย เป็นของขวัญที่น่าร้ากกกกก แถมเลี้ยงง่าย ไม่ยุ่งยากอีกด้วยค่ะ วันนี้ Easy Plants เลยนำไอเดียดีๆ ที่จะช่วยการปลูก HOYA น่ารักขึ้นไปอีกมาฝากกันค่ะ การจัดวาง HOYA 1. การจัดวาง HOYA แบบใบเดี่ยว “รักเธอคนเดียว” สื่อถึงความรักเดียวใจเดียว…
August 2020
-
-
เทคนิคการใช้เลนส์ เทคนิคการใช้รูรับแสง เทคนิคการควบคุมความเร็วชัตเตอร์ (SHUTTER SPEED) การใช้โหมดวัดแสง เทคนิคการใช้กฎสามส่วน เทคนิคการใช้ FOREGROUND เทคนิคการใช้กรอบและรูปทรง เทคนิคถ่ายภาพฉากหลังโบเก้ (BOKEH) …
-
>> คลิกชื่อต้นไม้เพื่ออ่านข้อมูลเพิ่มเติม มูนไลท์ ฟิโลลายเมฆ รวยโชค รวยทรัพย์ >> คลิกชื่อต้นไม้เพื่ออ่านข้อมูลเพิ่มเติม แบล็คคาดินัล ซานาดู เดฟหัวใจ (Hoya) มอนแคระ (Jinny) >> คลิกชื่อต้นไม้เพื่ออ่านข้อมูลเพิ่มเติม พลูฉลุ ลิ้นมังกรเขียว ลิ้นมังกรใบสั้น งาช้างแคระ >> คลิกชื่อต้นไม้เพื่ออ่านข้อมูลเพิ่มเติม อัญมณีสามสี เพชรชมพู มหาเศรษฐี เลกาซี่ขาว >> คลิกชื่อต้นไม้เพื่ออ่านข้อมูลเพิ่มเติม กวักเงิน กวักมรกต ลิ้นมังกร…
-
การถ่ายภาพทิวทัศน์มักจะเป็นปัญหาในเรื่องของการไม่รู้จะวางพื้นที่สำคัญของภาพอย่างไร จนภาพที่ถ่ายออกมาดูโล่ง ไร้ความน่าสนใจ การใช้ “กฏสามส่วน” จะช่วยวางสัดส่วนภาพให้พอดีจนดูน่าสนใจ สิ่งที่ควรรู้ : ขอสำคัญในการถ่ายภาพทิวทัศน์ทั่วไปที่ ปรากฏเส้นขอบฟ้าหรือเส้นตัดต่างๆปรากฏในภาพจะต้องค่อยดูไม่ให้เกิดการเอียงไม่เท่ากัน โหมดที่ใช้ : ใช้ได้ทุกโหมด P, A (AV), S (TV), M เลนส์ที่เหมาะสม : เลนส์ช่วงกลางหรือเลนส์คิท เช่น 24-105 mm, 18-55 mm เป็นต้น แบบฝึกหัด : ให้แบ่งพื้นที่ช่องมองภาพหรือเฟรมภาพ ออกเป็น…
-
หลักการวัดแสงของกล้องถ่ายภาพ จะใช้หลักเทียบแสงพอดีที่ค่าเท่ากลาง 18 เปอร์เซ็นต์เป็นค่ากลางในการวัดแสง กล้องพยายามทำให้ทุกอย่างให้มีค่าเท่ากลาง จึงส่งผลต่อภาพถ่ายที่มีค่าแสงมากกว่าหรือน้อยกว่าค่าเท่ากลาง ซึ่งเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นและพบเจอ จนทำให้ภาพถ่ายออกมาไม่ได้แสงพอดีตามต้องการ กล้องถ่ายภาพจึงออกแบบระบบวัดแสงเพื่อใช้ตามสภาพแสงที่แตกต่างกัน สิ่งที่ควรรู้ : เรียนรู้การใช้โหมดวัดแสง 3 ระบบ ที่มีอยู่ในกล้อง เพื่อในการเลือกใช้โหมดวัดแสงที่เหมาะสมกับสถานณ์การที่แตกต่างกัน โหมดที่ใช้ : ใช้ได้ทุกโหมด P, A (AV), S (TV), M เลนส์ที่เหมาะสม : ทุกช่วงเลนส์เช่น 24-105 mm / 18-55mm เป็นต้น…
-
การเกิดโบเก้ คือการทำให้ฉากหลังที่เบลอจนหลุดจากระยะโฟกัส และเกิดการหักเหกับแสงบริเวณฉากหลัง จนเกิดเป็นดวงกลมแสงระยิบระยับจนดูแปลกตา การเกิดดวงโบเก้สามารถเกิดขึ้นได้จากแสงธรรมชาติและแสงไฟประดับ สิ่งที่ควรรู้ : การเกิดโบเก้ประกอบไปด้วย 3 ปัจจัยหลักคือ การเปิดรูรับแสงกว้าง เลนส์ทางยาวโฟกัสสูง และระยะวัตถุแบบที่ห่างจากฉากหลังมากที่สุด โหมดที่ใช้ : A (AV), M เลนส์ที่เหมาะสม : เลนส์ 50mm, 85mm, 200mm เป็นต้น แบบฝึกหัด : ให้ผู้เรียนกำหนดจุดที่จะถ่ายภาพที่ให้ฉากหลังเป็นดวงไฟประดับ จากนั้นให้นางแบบยืนห่างฉากหลังออกมา จากนั้นเลือกจัดองค์ประกอบระดับครึ่งตัวขึ้นไป ด้วยเลนส์ทางยาวโฟกัสสูงพร้อมกับเปิดรูรับแสงกว้างที่สุดเท่าที่เลนส์มี และตั้งกล้องบนขาตั้ง เพื่อลดการใช้ความไวแสง (ISO)…
-
รูรับแสงเป็นส่วนสำคัญในขบวนการถ่ายภาพ ทำหน้าที่ควบคุมแสงที่ผ่านเข้ามายังเลนส์และกระทบสู่เซ็นเซอร์รับภาพอีกที นอกจากนี้รู้รับยังส่งผลต่อความชัดลึกของภาพ (Depth of field) ที่ทำให้ภาพถ่ายมาความแตกต่างกัน ขนาดของรู้รับแสง เช่น (รูรับแสงกว้าง) f1.4,2.8,f4 เป็นต้น (รูรับแสงแคบ) f11, f16, f22 สิ่งที่ควรรู้ : เรียนรู้เรื่องการใช้รูรับแสง ซึ่งรูรับแสงที่แตกต่างกัน มีผลต่อความชัดลึกของภาพ รูรับแสงกว้าง จะให้ภาพที่ชัดตื้น รูรับแสงแคบจะทำให้ภาพชัดลึก โหมดที่ใช้ : A (AV), M เลนส์ที่เหมาะสม : เลือกช่วงเลนส์ในทางยาวโฟกัสเดียวกัน เช่น 50mm,…
-
การจัดองค์ประกอบภาพให้มีฉากหน้า จะช่วยดึงบังคับสายตาให้ผู้มองภาพมองตรงไปยังวัตถุแบบหลัก หรือบางครั้งความน่าสนใจก็เกิดขึ้นจากฉากหน้าโดยตรง การจัดองค์ประกอบภาพให้มีฉากหน้า จะช่วยดึงบังคับสายตาให้ผู้มองภาพมองตรงไปยังวัตถุแบบหลัก หรือบางครั้งความน่าสนใจก็เกิดขึ้นจากฉากหน้าโดยตรง สิ่งที่ควรรู้ : เรียนรู้การจัดองค์ประกอบด้วยการทำให้มีฉากน้า เพื่อทำให้ภาพมีมิติความลึก และยังช่วยให้ลดช่องว่างของขอบภาพและด้านหน้าที่ไม่น่าสนใจ …
-
การมีกรอบภาพจะส่วนให้บีบสายตาคนดูไปที่วัตถุแบบ และรูปทรงของวัตถุในภาพก็จะช่วยดูสายตาคนมองภาพได้เช่นกัน และกรอบ รูปทรงยังจะเป็นที่พึ่งให้นางแบบมีที่วางมือและโพสท่า สิ่งที่ควรรู้ : กรอบหรือรูปทรงที่นำมาเป็นองค์ประกอบจะต้องดูไม่ขัดกัน จนทำให้แบบดูด้อย และข้อสำคัญจะต้องระว่างมุมกล้องเอียงจนถูกฟ้องจากที่ทำให้กรอบและรูปทรงมีสัดส่วนเพี้ยนและเอียงปรากฏในภาพ โหมดที่ใช้ : A (AV), M เลนส์ที่เหมาะสม : เลนส์ช่วง 24mm, 35mm, 50mm, 85mm, 200mm เป็นต้น แบบฝึกหัด : ให้ลองจัดองค์ประกอบ โดยให้แบบเข้าไปอยู่ในแบบ ตามขนาดของกรอบที่มีรูปทรงต่างกัน ซึ่งได้ทั้งมุมซ้ายและขวา หรือจะใช้วิธีให้แบบเข้าไปนั่งอยู่ในกรอบ จะทำดูเป็นส่วนหนึ่งในกรอบภาพและกลมกลืมกับธรรมชาติ อยากถ่ายรูปเป็นในวันเดียว สนใจคอร์สเรียนถ่ายภาพ คลิ๊กเลย…
-
ความเร็วชัตเตอร์ทำหน้าที่กำหนดเวลาให้แสงลงบันทึกสู่เซ็นเซอร์รับภาพ ซึ่งเริ่มต้นมีหน่วยวัดเป็นวินาที เช่น 1 วินาที, 1/2, 1/8,1/30,1/60,1/200 เป็นต้น ยิ่งตัวเลขสูงยิ่งทำให้ชัตเตอร์ทำงานเร็ว นอกจากนี้ชัตเตอร์ยังส่งผลต่อการเคลื่องไหวของวัตถุแบบอีกด้วย สิ่งที่ควรรู้ เรียนรู้การใช้การความเร็วชัตเตอร์ ที่มีผลต่อการสั่นไหวของภาพและการเคลื่อนไหวของวัตถุแบบ โดยผู้เรียนสามารถฝึกการใช้และควบคุมความเร็วชัตเตอร์สูงและชัตเตอร์ต่ำ การใช้ Shutter Speed 1/4 sec การใช้ Shutter Speed 1/640 sec โหมดที่ใช้ : S (TV), M …